องค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศ
องค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศ การจัดตั้งองค์การระหว่างประเทศอาจจำแนกออกเป็นสองระดับหลัก คือองค์การระหว่างประเทศระดับโลก และระดับภูมิภาค ซึ่งทั้งสองระดับล้วนเป็นองค์การเพื่อประสานประโยชนืร่วมกันระหว่างประเทศปัจจุบัน ดังนี้
1.องค์การสหประชาชาติ(The United Nations:UN)สถาปนาอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2488 หลังสงครามโลกครั้งที่สองยุติลง มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่กรุงนิวยอร์กประเทศสหรัฐอเมริกา มีประเทศเอกราชทุกภูมิภาคเป็นสมาชิกไม่ต่ำกว่า 190 ประเทศในปัจจุบัน
1.1 เพื่อธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ
1.2 เพื่อพัฒนาความสัมพันธ์ฉันท์มิตรระหว่างประชาชาติ โดยยึดการเคารพต่อหลักการแห่งสิทธิอันเท่าเทียมกัน
1.3 เพื่อให้บรรลุถึงความร่วมมือระหว่างประเทศ ในอันที่จะแก้ไขปัญหาระหว่างประเทศทางด้าน เศษฐกิจ สังคม และมนุษยธรรมและการส่งเสริมสนับสนุนการเคารพต่อสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐานสำหรับทุกคน โดยไม่เลือกปฎิบัติในเรื่องเชื้อชาติ ศาสนา เพศ หรือภาษา
1.4 เพื่อเป็นศูนย์กลางประสานงานของประชาชาติทั้งหลายให้กลมกลืนกัน ในอันที่จะบรรลุจุดหมานปลายทางร่วมกัน
เช่น การรักษาสันติภาพ ส่งเสริมประชาธิปไตย ส่งเสริมด้านมนุษย์ชน พัฒนาความสัมพันธ์ทางการค้าระดับโลก ให้ความคุ้มครองด้านทรัพย์สินทางปัญญา เป็นต้น
2.สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้(Association of Southeast Asian Nation: ASEAN)หรืออาเซียน
ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2510 โดยมีสมาชิกเริ่มแรก 5 ประเทศ คือ ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร์ ในปัจุบันได้สมาชิกเพิ่มได้แก่ บรูไน เวียดนาม ลาว และกัมพูชา
โดยมีวัตถุประสงค์สำคัญเพื่อเร่งรัดความเจริญเติบโตทางเศษฐกิจ ความก้าวหน้าทางสังคม วัฒนธรรมของภูมิภาค ส่งเสริมสันติภาพ และเสถียรภาพของภูมิภาคตามหลักของสหประชาชาติ ส่งเสริม ร่วมมือและช่วยเหลือซึ่งกันและกันในเรื่องผลประโยชน์ทาเศษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม วิชาการ การบริหารอย่างจริงจัง
3.เขตการค้าเสรีอาเซียน(Asean free trade area: AFTA)
เขตการค้าเสรีอาเซียน หรืออาฟตา เป็นการร่วมมือทางเศษฐกิจที่ทำให้การค้าขายในกลุ่มอาเซียนขยายตัว เป็นความคิดริเริ่มที่มาจากอดีตนายกรัฐมนตรีไทย คือ นายอานันท์ ปันยาชุน ที่เสนอต่อที่ประชุมอาเซียน ณ ประเทศสิงคโปร์
โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้การค้าภายในอาเซียนเป็นไปโดยเร็ว อัตรภาษีต่ำที่สุด และเพื่อดึงดูดการลงทุนจากต่างชาติสู่ภูมิภาคอาเซียน ตลอดจนเพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์การค้าโลกที่เป็นระบบเสรียิ่งขึ้น ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อเศษฐกิจของไทยอย่างจริงจัง ระบบการค้าเสรี เป็นลักษณะทวิภาคี ระหว่างประเทศไทยกับประเทศในเอเชียใต้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์เป็นต้น
4.ความร่วมมือทางเศษฐกิจเอเชียแปซิฟิก หรือเอเปก(Asia-pacific economic cooperation:APEC)
ก่อตั้งใน พ.ศ. 2532 ตามข้อเสนอของนายบ็อบฮอร์ก อดีตนายกรัฐมนตรีประเทศออสเตรเลีย โดยกลุ่มเอเปกเป็นกลุ่มเศษฐกิจที่มีประชากรรวมกันมากที่สุดกว่า 2,000 ล้านคน ครอลคลุม สามทวีป คือ เอเชีย อเมริกา และออสเตรเลีย มีสำนักงานตั้งอยู่ที่ประเทศ
สิงคโปร มีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนการขยายตัวทางเศษฐกิจของภูมิภาคเอเชียและของโลก โดยต้องการพัฒนาส่งเสริมระบบการค้าพหุภาคีที่อยู่บนรากฐานของการเปิดการค้าเสรี การลงทุน และหาทางลดอุปสรรคทางการค้า โดยยึดหลักผลประโยชน์ร่วมกัน ซึ่งไทยเคยเป็นเจ้าภาพการจัดประชุมในปี พ.ศ. 2546
1.องค์การสหประชาชาติ(The United Nations:UN)สถาปนาอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2488 หลังสงครามโลกครั้งที่สองยุติลง มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่กรุงนิวยอร์กประเทศสหรัฐอเมริกา มีประเทศเอกราชทุกภูมิภาคเป็นสมาชิกไม่ต่ำกว่า 190 ประเทศในปัจจุบัน
1.1 เพื่อธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ
1.2 เพื่อพัฒนาความสัมพันธ์ฉันท์มิตรระหว่างประชาชาติ โดยยึดการเคารพต่อหลักการแห่งสิทธิอันเท่าเทียมกัน
1.3 เพื่อให้บรรลุถึงความร่วมมือระหว่างประเทศ ในอันที่จะแก้ไขปัญหาระหว่างประเทศทางด้าน เศษฐกิจ สังคม และมนุษยธรรมและการส่งเสริมสนับสนุนการเคารพต่อสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐานสำหรับทุกคน โดยไม่เลือกปฎิบัติในเรื่องเชื้อชาติ ศาสนา เพศ หรือภาษา
1.4 เพื่อเป็นศูนย์กลางประสานงานของประชาชาติทั้งหลายให้กลมกลืนกัน ในอันที่จะบรรลุจุดหมานปลายทางร่วมกัน
เช่น การรักษาสันติภาพ ส่งเสริมประชาธิปไตย ส่งเสริมด้านมนุษย์ชน พัฒนาความสัมพันธ์ทางการค้าระดับโลก ให้ความคุ้มครองด้านทรัพย์สินทางปัญญา เป็นต้น
2.สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้(Association of Southeast Asian Nation: ASEAN)หรืออาเซียน
ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2510 โดยมีสมาชิกเริ่มแรก 5 ประเทศ คือ ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร์ ในปัจุบันได้สมาชิกเพิ่มได้แก่ บรูไน เวียดนาม ลาว และกัมพูชา
โดยมีวัตถุประสงค์สำคัญเพื่อเร่งรัดความเจริญเติบโตทางเศษฐกิจ ความก้าวหน้าทางสังคม วัฒนธรรมของภูมิภาค ส่งเสริมสันติภาพ และเสถียรภาพของภูมิภาคตามหลักของสหประชาชาติ ส่งเสริม ร่วมมือและช่วยเหลือซึ่งกันและกันในเรื่องผลประโยชน์ทาเศษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม วิชาการ การบริหารอย่างจริงจัง
3.เขตการค้าเสรีอาเซียน(Asean free trade area: AFTA)
เขตการค้าเสรีอาเซียน หรืออาฟตา เป็นการร่วมมือทางเศษฐกิจที่ทำให้การค้าขายในกลุ่มอาเซียนขยายตัว เป็นความคิดริเริ่มที่มาจากอดีตนายกรัฐมนตรีไทย คือ นายอานันท์ ปันยาชุน ที่เสนอต่อที่ประชุมอาเซียน ณ ประเทศสิงคโปร์
โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้การค้าภายในอาเซียนเป็นไปโดยเร็ว อัตรภาษีต่ำที่สุด และเพื่อดึงดูดการลงทุนจากต่างชาติสู่ภูมิภาคอาเซียน ตลอดจนเพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์การค้าโลกที่เป็นระบบเสรียิ่งขึ้น ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อเศษฐกิจของไทยอย่างจริงจัง ระบบการค้าเสรี เป็นลักษณะทวิภาคี ระหว่างประเทศไทยกับประเทศในเอเชียใต้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์เป็นต้น
4.ความร่วมมือทางเศษฐกิจเอเชียแปซิฟิก หรือเอเปก(Asia-pacific economic cooperation:APEC)
ก่อตั้งใน พ.ศ. 2532 ตามข้อเสนอของนายบ็อบฮอร์ก อดีตนายกรัฐมนตรีประเทศออสเตรเลีย โดยกลุ่มเอเปกเป็นกลุ่มเศษฐกิจที่มีประชากรรวมกันมากที่สุดกว่า 2,000 ล้านคน ครอลคลุม สามทวีป คือ เอเชีย อเมริกา และออสเตรเลีย มีสำนักงานตั้งอยู่ที่ประเทศ
สิงคโปร มีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนการขยายตัวทางเศษฐกิจของภูมิภาคเอเชียและของโลก โดยต้องการพัฒนาส่งเสริมระบบการค้าพหุภาคีที่อยู่บนรากฐานของการเปิดการค้าเสรี การลงทุน และหาทางลดอุปสรรคทางการค้า โดยยึดหลักผลประโยชน์ร่วมกัน ซึ่งไทยเคยเป็นเจ้าภาพการจัดประชุมในปี พ.ศ. 2546
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น